\(1.\) จงหาความยาวเคลื่อนเสียงในอากาศเป็นเซนติเมตร
\(2.\) ในช่วงที่ส้อมเสียงสั่นครบ \(1\) รอบ คลื่นในอากาศเคลื่อนที่ไปได้กี่เมตร
\(3.\) ถ้าความเร็วเสียงในอากาศเท่ากับ \(340\) เมตรต่อวินาที ถามว่าส้อมเสียงนั้นมีความถี่เท่าใด
เฉลย สองตำแหน่งเสียงดังติดกันห่างกันเท่ากับ \(\dfrac{\lambda}{2}\)
\begin{aligned}
\dfrac{\lambda}{2}&=L_2-L_1\\
\dfrac{\lambda}{2}&=35-10\\
\lambda&=25\times 2\\
\lambda&=50
\end{aligned}
ดังนั้น ความยาวเคลื่อนเสียงในอากาศ \(50\) เซนติเมตร
เฉลย ในช่วงที่ส้อมเสียงสั่นครบ \(1\) รอบ เท่ากับหนึ่งความยาวคลื่นพอดี
ดังนั้น คลื่นในอากาศเคลื่อนที่ไปได้เท่ากับความยาวคลื่น \(0.5\) เมตร
เฉลย อัตราเร็วเสียงในอากาศ \begin{aligned} v&=\lambda f\\ 340&=0.5f\\ f&=340\times 2\\ f&=680 \end{aligned} ดังนั้น ส้อมเสียงนั้นมีความถี่เท่ากับ \(680\) เฮิรตซ์
เฉลย ในช่วงที่ส้อมเสียงสั่นครบ \(1\) รอบ เท่ากับหนึ่งความยาวคลื่นพอดี
ดังนั้น คลื่นในอากาศเคลื่อนที่ไปได้เท่ากับความยาวคลื่น \(0.5\) เมตร
เฉลย อัตราเร็วเสียงในอากาศ \begin{aligned} v&=\lambda f\\ 340&=0.5f\\ f&=340\times 2\\ f&=680 \end{aligned} ดังนั้น ส้อมเสียงนั้นมีความถี่เท่ากับ \(680\) เฮิรตซ์
เฉลย สมการการความเข้มสูงสุดของแสงที่เกิดจากเกรตติ้ง \((G)\) ครั้งที่หนึ่ง \((n=1)\)
\begin{aligned}
\dfrac{\sin \theta}{G}&=n\lambda\\
\dfrac{\sin 30^{\circ}}{G}&=(1)\lambda\\
\lambda&=\dfrac{1}{2G}
\end{aligned}
ครั้งที่สอง (\(n=2\)) เพิ่มระยะห่างระหว่างเส้นเป็นสองเท่าของเกรตติ้งอันแรก ดังนั้น เกรตติ้งอันที่สองลดลงครึ่งหนึ่ง \((\dfrac{G}{2})\)
\begin{aligned}
\dfrac{2\sin \theta}{G}&=(2)(\dfrac{1}{2G})\\
\sin \theta&=\dfrac{1}{2}\\
\theta&=30^{\circ}
\end{aligned}
ดังนั้น ความเข้มเสียงสูงสุดครั้งที่สองจะเบนจากแนวกลางเป็นมุม \(30^{\circ}\)
เฉลย หาความยาวคลื่นเสียงในอากาศ
\begin{aligned}
\lambda &= \dfrac{v}{f}\\
\lambda &= \dfrac{340}{510}\\
\lambda &= \dfrac{2}{3}
\end{aligned}
กรณีนี้ แหล่งกำเนิดเสียงเฟสตรงกัน ตำแหน่งของเสียงจางหายจะเกิดก่อนเสียงดังเสมอ ใช้สมการเสียงดัง
\begin{aligned}
d\sin \theta &= n\lambda\\
6(\dfrac{30}{54})&=n(\dfrac{2}{3})\\
n&=\dfrac{10}{3}\times \dfrac{3}{2}\\
n&=5
\end{aligned}
ดังนั้น เขาจะรู้สึกว่าได้ยินเสียงจางหายไป \(5\) ครั้ง
หมายเหตุ ข้อนี้ถ้าคำนวณได้เลขจำนวนทศนิยมที่มากกว่า \(.5\) เช่น \(5.5\) แสดงว่าเกิดเสียงจางหายไป \(6\) ครั้ง
หมายเหตุ ข้อนี้ถ้าคำนวณได้เลขจำนวนทศนิยมที่มากกว่า \(.5\) เช่น \(5.5\) แสดงว่าเกิดเสียงจางหายไป \(6\) ครั้ง
เฉลย กรณีนี้ แหล่งกำเนิดคลื่นน้ำมีเฟสตรงกัน ตำแหน่งของจุดบัพ (node) จะเกิดก่อนจุดปฏิบัพ (anti node) เสมอ ใช้สมการปฏิบัพ หาตำแหน่งปฏิบัติที่มากที่สุด โดยให้ \(\sin \theta = 1\)
\begin{aligned}
d\sin \theta &= n\lambda\\
6(1)&=n(4)\\
n&=1.5\\
\end{aligned}
ตำแหน่งปฏิบัพ คำนวณได้เลขจำนวนทศนิยม \(.5\) แสดงว่าตำแหน่งที่เกิดขึ้นจริงเป็นจุดบัพตำแหน่งที่ \(1.5+0.5=2\)
ดังนั้น จะเกิดจุดบัพ (node) เท่ากับ \(2\times 2 = 4 \) จุดบนเส้นตรง \(S_1S_2\)
หมายเหตุ
1) จำนวนจุดปฏิบัพบนเส้นตรง \(S_1S_2\) เท่ากับ \(2n+1\)
2) จำนวนจุดบัพบนเส้นตรง \(S_1S_2\) เท่ากับ \(2n\)
ดังนั้น จะเกิดจุดบัพ (node) เท่ากับ \(2\times 2 = 4 \) จุดบนเส้นตรง \(S_1S_2\)
หมายเหตุ
1) จำนวนจุดปฏิบัพบนเส้นตรง \(S_1S_2\) เท่ากับ \(2n+1\)
2) จำนวนจุดบัพบนเส้นตรง \(S_1S_2\) เท่ากับ \(2n\)
เฉลย กฎของสเนลล์
\begin{aligned}
n_1\sin \theta_1&=n_2\sin \theta_2 \\
(1)(\dfrac{4}{5})&=n_2(\dfrac{3}{5})\\
n_2&=\dfrac{4}{3}
\end{aligned}
ดังนั้น ดรรชนีหักเหของของเหลวมีค่า \(\dfrac{4}{3}=1.33\)